Mes amies

นักเรียนแผนการเรียน อังกฤษ-ฝรั่งเศส ห้อง 6 โรงเรียนราชินีบูรณะ จังหวัดนครปฐม

วันจันทร์, ธันวาคม 17, 2550

Les temps de l' indicatif

Les temps de l' indicatif
L' imparfait
การใช้ :
1. บรรยายเหตุการณ์หรือบอกสภาพที่ดำรงอยู่ช่วงหนึ่งในอดีต (la durée, la description, et la situation)
- Quand elle était jeune, elle était mince et belle. (ตอนหล่อนเป็นสาว หล่อนร่างบางและสวย)
- Avant il y avait beaucoup de poissons dans cette rivière. (เมื่อก่อนนี้มีปลามากในแม่นํ้าสายนี้)
- C' était un dimanche, il faisait beau, les gens se promenaient dans les rues ou bavardaient
à la terrasse de café. J' étais heureuse. (เป็นวันอาทิตย์หนึ่งที่อากาศสดใส ผู้คนเดินเล่นตามท้องถนน
หรือไม่ก็พูดคุยกันบนเทอเรสของร้านกาแฟ ฉันรู้สึกมีความสุข)
2. พูดถึงสิ่งที่กระทำเป็นประจำในอดีต หรือบรรยายเหตุการณ์ที่ซํ้าๆกันในอดีต (l' habitude et la répétition)
- Il prenait toujours un café après le déjeuner. (เขาดื่มกาแฟหลังอาหารกลางวันเป็นประจำ))
- Chaque fois qu' il me voyait, il me disait qu' il pensait à moi ! (ทุกครั้งที่เขาเห็นฉันเขาจะบอกว่าคิดถึงฉัน)
3. ใช้แทนรูป présent ของคำกริยาในประโยคตาม ในการนำคำพูดของคนอื่นไปเล่าต่อให้คนอื่นฟัง (discours indirect)
เมื่อคำกริยาในประโยคนำอยู่ในรูปอดีต (passé)
- Il dit qu' il veut voyager loin.
-> Il a dit qu' il voulait voyager loin.
- Il dit qu' il en a assez de son travail.
-> Il disait qu' il en avait assez de son travail.
4. ใช้คู่กับ passé composé เพื่อบอกว่า ขณะที่เหตุการณ์หนึ่งกำลังดำเนินอยู่ อีกเหตุการณ์ก็เกิดแทรกขึ้นมา [เหตุการณ์ที่
กำลังดำเนินอยู่ในอดีตใช้ imparfait ส่วนเหตุการณ์ที่เกิดแทรกขึ้นมาใช้ passé composé]
- Je dormais tranquillement quand, soudain, quelqu'un m' a appelé. (ฉันกำลังหลับสบายตอนที่มีคนเรียกฉัน)
5. บอกเล่าเหตุการณ์ที่เกือบจะเกิดขึ้นในอดีต
- Encore un pas et je tombais ! (นี่อีกเพียงก้าวเดียวฉันก็คงจะล้มแล้ว)
- Ah j' oubliais de vous dire une chose, c' est qu' on saura le résultat plus tôt que prévu. (อ้า ! เกือบลืมบอก
อะไรเธอไปอย่างหนึ่ง คือเราจะรู้ผลการสอบเอนทรานซ์เร็วกว่ากำหนด)
6. [สำหรับเหตุการณ์ปัจจุบัน] ในประโยคเงื่อนไขหรือสมมุติ นำด้วย Si + verbe (ในรูป imparfait) คู่กับอีกประโยคหนึ่งที่
verbe อยู่ในรูป conditionnel présent เพื่อเป็นการสมมุติสิ่งที่ตรงข้ามกับความเป็นจริงในปัจจุบัน หรือมีโอกาส
เป็นไปได้น้อยมาก [ประโยคเงื่อนไขแบบที่ 2]
- Si j' avais le temps, je viendrais te voir. (ถ้าฉันมีเวลาฉันจะมาหาเธอ) [แต่เป็นที่รู้กันว่าไม่มีเวลา]
- Si j' étais elle, je ferais plus attention. (ถ้าฉันเป็นหล่อนฉันจะใส่ใจกว่านี้) [แต่เป็นที่รู้กันว่าหล่อนไม่ค่อยใส่ใจ
และฉันก็ไม่ใช่หล่อนด้วย]
7. [สำหรับเหตุการณ์ในอนาคต] ในประโยคที่ขึ้นต้นด้วย Si + verbe ........... ? (ในรูป imparfait) เพื่อชักชวนหรือเสนอแนะ
- Si on allait au cinéma ce soir ? (คํ่านี้เราไปดูหนังกันไหม)
- Si nous faisions un pique-nique ce samedi ? (วันเสาร์นี้เราไปปิคนิคกันดีไหม)
8. ตามหลัง "comme si" เป็นเชิงเปรียบเทียบ หรือ ตั้งสมมุติฐาน มีความหมาย = "ราวกับว่า" [แต่ในความเป็นจริง ไม่ใช่]
- Il me parle comme s' il était mon patron. (เขาพูดกับฉันราวกับว่าเขาเป็นเจ้านายฉัน)
สำนวน "être en train de" ในรูป imparfait ตามด้วย infinitif ใช้เพื่อเน้นเหตุการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นในอดีต
- Qu' est-ce que tu faisais quand je t' ai téléphoné ? (เธอกำลังทำอะไรอยู่ตอนที่ฉันโทรมาหาเธอ)
- J' étais en train de préparer le dîner. (ฉันกำลังเตรียมอาหารเย็นอยู่)
รูปแบบ : [การผันคำกริยาในรูป imparfait]
1. นำคำกริยาที่ต้องการมาผันกับประธานบุรุษที่ 1(Nous)ในรูป présent
2. ตัดลงท้าย "ons" ออก
3. เติมลงท้ายที่แกนของคำกริยาด้วย : _ais, _ais, _ait, _ions, _iez, _aient :
1er groupe (parler) : Nous parlons -> parl_ ->
2e groupe (finir) : Nous finissons -> finiss_ ->
3e groupe (prendre) : Nous prenons -> pren_ ->


1er groupe parler 2e groupe finir 3e groupe prendre

Je parlais finissais prenais
Tu parlais finissais prenais
Il / Elle parlait finissait prenait
Nous parlions finissions prenions
Vous parliez finissiez preniez
Ils / Elles parlaient finissaient prenaient
ยกเว้น verbe "être" ทีใช้แกน "ét_"
J' étais, Tu étais, Il / Elle était, Nous étions, Vous étiez, Ils / Elles étaient
Verbe ที่ลงท้ายด้วย "_ger" เช่น manger, voyager, changer, mélanger, songer ... [g + e + a]
Je mangeais, Tu mangeais, Il / Elle mangeait, Nous mangions, Vous mangiez, Ils / Elles mangeaient
Verbe ที่ลงท้ายด้วย "_cer" เช่น commencer, placer, déplacer, tracer ... [ç + a]
Je plaçais, Tu plaçais, Il / Elle plaçait, Nous placions, Vous placiez, Ils / Elles plaçaient

วันพฤหัสบดี, พฤศจิกายน 22, 2550

ปฏิทิน + นาฬิกาน่ารัก






14 กรกฎาคม Bastille Day วันชาติฝรั่งเศส


วัน Bastille คือวันที่ 14 กรกฏาคม เป็นวันที่คุก Bastille:ซึ่งคุมขัง นักโทษทางการเมืองในฝรั่งเศสถูกทำลายโดยพลังประชาชน วันนี้เปรียบเสมือนสัญลักษณ์ ของการสิ้นสุดการปกครองแบบราชาธิปไตยในประเทศฝรั่งเศส และเริ่มต้นศักราชของ การปกครองแบบสาธารณรัฐเป็นครั้งแรก
ในวันหยุดประจำชาติวันนี้ คือห้วงเวลาที่ประชาชนชาวฝรั่งเศสจะร่วมกันรำลึกถึง การก่อตั้งสาธารณรัฐ อีกทั้งในวันนี้ยังเป็นวันที่เปรียบเสมือนกับรากเหง้าประวัติศาสตร์ ของการเปลี่ยนแปลงการปกครองอันน่าจดจำ ซึ่งลำดับเหตุการณ์โดยสังเขปในครั้งนั้น มีรายละเอียดที่น่าสนใจดังนี้




5 พฤษภาคม ค.ศ. 1789 ; บรรดาเหล่าขุนนางในระบอบการปกครอง แบบราชาธิปไตยเปิดประชุมสภาขุนนางทันทีที่ พวกเขาได้ข่าวว่า บรรดาชนชั้นกรรมมาชีพ ซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของสังคมฝรั่งเศสใน สมัยนั้น เรียกร้องให้เปลี่ยนแปลงการปกครอง ให้เป็นระบอบสาธารณรัฐ รวมทั้งให้มีการ ร่างรัฐธรรมนูญและก่อตั้งรัฐสภาแห่งชาติ20 มิถุนายน ค.ศ. 1789 ; ตัวแทนของคณะก่อการจากชนชั้นกรรมมาชีพ ได้กระทำสัตยาบรรณร่วมกัน ที่เรียกว่า Jeu de Paume ซึ่งจารึกไว้ว่า เหล่าคณะผู้ก่อการจะไม่ แตกแยกกันจนกว่าจะมีการร่างรัฐธรรมนูญเป็น ผลสำเร็จ แนวความคิดของคณะผู้ก่อการ ได้รับการตอบรับอย่างยิ่งยวดจากประชาชนชาว ฝรั่งเศสที่ต้องต่อสู้กับความแร้นแค้น และสภาวะเสื่อมถอยของสังคมในสมัยนั้น ในขณะที่แนวความคิดนี้ขัดแย้งกันอย่างสิ้นเชิง กับชนชั้นขุนนาง14 กรกฏาคม ค.ศ. 1789 ;เมื่อมีแนวร่วมมากขึ้นทำคณะปฏิวัติ แข็งแกร่งขึ้นทุกขณะ ประชาชนในปารีสได้รวมตัวกันเดินขบวนไปยังคุก Bastille เพื่อ ปลดปล่อยนักโทษทางการเมืองที่มีความเห็นไม่ตรงกันกับบรรดาเหล่าขุนนางความล่มสลายของคุก Bastille ภายใน 1 วันด้วยพลังประชาชนทำให้การปฏิวัติประสบ ผลสำเร็จอย่างรวดเร็ว 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1789 ; การปฏิวัติประสบผลสำเร็จ ความล่มสลาย ของคุก Bastille กลายเป็นสัญลักษณ์แห่งเสรีภาพ และประชาธิปไตย ของชาวฝรั่งเศส ทุกคนตราบจนกระทั่งทุกวันนี้

มาเที่ยวฝรั่งเศสกันเถอะ

วัฒนธรรมและการพักผ่อนหย่อนใจ
ในปี 2006 กระทรวงวัฒนธรรมได้รับงบประมาณเป็นจำนวนเงิน 3 พันล้านยูโร ครึ่งหนึ่งของค่าใช้จ่ายกิจกรรมทางวัฒนธรรมซึ่งมีจำนวนถึง 13 พันล้านยูโร มาจากงบประมาณของรัฐบาลและอีกครึ่งหนึ่งมาจากงบประมาณขององค์กรในระดับท้องถิ่น
ในแต่ละปี ครอบครัวชาวฝรั่งเศสใช้จ่ายเงินเกี่ยวกับกิจกรรมทางวัฒนธรรม การบันเทิง กีฬาและการเล่นต่างๆ โดยเฉลี่ยเท่ากับ 1,385 ยูโร
หนังสือ
ในปี 2004 หนังสือที่ได้รับการตีพิมพ์มีทั้งหมด 65,705 เรื่อง จำนวน 512 ล้านเล่ม เป็นการพิมพ์ครั้งแรก 30,926 เรื่องและพิมพ์ซ้ำ 37,779 เรื่อง
ในปีเดียวกัน ยอดจำหน่ายหนังสือของสำนักพิมพ์มีจำนวนทั้งสิ้น 388 ล้านเล่ม เป็นจำนวนเงิน 2.8 พันล้านยูโร
หนังสือพิมพ์
ชาวฝรั่งเศสร้อยละ 30 อ่านหนังสือพิมพ์รายวันทุกวัน ทั้งนี้มีหนังสือพิมพ์รายวันที่ออกจำหน่ายทั่วทั้งประเทศ 10 ฉบับและเฉพาะในระดับท้องถิ่นอีก 65 ฉบับ
ในแต่ละปี มียอดการพิมพ์จำหน่ายโดยรวม 4.7 พันล้านฉบับ
นิตยสาร
ในจำนวนนิตยสารที่มียอดจำหน่ายติด 100 อันดับแรก มี 6 ฉบับที่ยอดพิมพ์สูงกว่า 1 ล้านเล่ม และ 8 ฉบับที่มียอดพิมพ์สูงกว่า 5 แสนเล่ม
เมื่อเทียบจำนวนของนิตยสารที่ออกจำหน่ายกับจำนวนประชากร พบว่า ชาวฝรั่งเศสติดอันดับชาติที่ชอบอ่านนิตยสารมากที่สุดชาติหนึ่งในโลก (จำนวน 1,354 ฉบับต่อประชากร 1,000 คน)
โทรทัศน์
โทรทัศน์ถือเป็นการพักผ่อนหย่อนใจที่ชาวฝรั่งเศสนิยมมากที่สุด เวลาโดยเฉลี่ยที่หมดไปกับการดูโทรทัศน์เท่ากับ 3 ชั่วโมง 15 นาทีต่อคนต่อวัน
สถานีโทรทัศน์มีมากกว่า 180 ช่อง ในจำนวนนี้
85 สถานีที่มีการแพร่ภาพในระดับประเทศและดำเนินการโดยรัฐ ได้แก่ France 2, ช่อง France 3, France 4. France 5 (สถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษา) และ Arte (เสนอรายการทางวัฒนธรรมของฝรั่งเศสและเยอรมัน) 83 สถานีทีมีการแพร่ภาพระดับประเทศและดำเนินการโดยเอกชน ได้แก่ TF1, M6 และ Canal Plus (ซึ่งเป็นสถานีระบบบอกรับสมาชิก เฉพาะในฝรั่งเศสมีสมาชิกประมาณ 8 ล้านคนและ 6.7 ล้านคนเป็นสมาชิกจากส่วนอื่นๆของโลก) 8นอกจากนี้ ยังมีสถานีโทรทัศน์ระบบเคเบิลอีกกว่า 30 ช่องซึ่งดำเนินการทั้งในระดับประเทศและระดับท้องถิ่น (ร้อยละ 45 ของครัวเรือนติดตั้งระบบเคเบิล) 8นอกจากนี้ ยังมีสถานีอีกมากมายซึ่งสามารถรับได้โดยการติดตั้งจานดาวเทียม (Canal Satellite, TPS ฯลฯ) 8TV5 และ Canal France International (CFI) เป็นสถานีโทรทัศน์ซึ่งแพร่ภาพไปยังต่างประเทศ ปี 2006 จะมีการเปิดสถานีข่าว CII ซึ่งแพร่ภาพไปทั่วโลก (ลักษณะเดียวกับ BBC และ CNN)
ทราบข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
www.tv5.org
วิทยุ
บริษัท Radio France เป็นบริษัทที่รวมกลุ่มสถานีวิทยุที่เป็นของรัฐ ได้แก่ France Inter, France Info (เป็นสถานีข่าว 24 ชั่วโมง) France Culture, Radio Bleue และ FIP
ส่วนสถานีที่ดำเนินการโดยภาคเอกชนประกอบไปด้วย RTL (สถานีวิทยุที่มีผู้ฟังมากที่สุดของฝรั่งเศส) Europe 1, Radio Monte Carlo และสถานีอื่นๆอีกมากมายที่เสนอทั้งเรื่องราวทั่วๆไปและที่เน้นไปทางด้านใดด้านหนึ่ง เช่น สถานีที่มีแต่รายการดนตรี หรือนำเสนอสาระความรู้ บริการสาธารณะและบริการท้องถิ่น สถานีทั้งหมดที่กล่าวมาเป็นสถานีกระจายเสียงในระบบเอฟเอ็ม
สำหรับสถานีที่มีกำลังส่งไปยังประเทศอื่นๆนอกฝรั่งเศส ได้แก่ สถานี Radio France Internationale (มีผู้ฟังประมาณ 30 ล้านคนทั่วโลก) และ RMC-Moyen-Orient ส่งกระจายเสียงไปยังประเทศต่างๆในตะวันออกกลาง ส่วนสถานี MEDI 1 เน้นไปยังผู้ฟังใน 3 ประเทศทางตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา (อัลจีเรีย ตูนีเซียและโมร็อกโก)
ทราบข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
www.rfi.fr
สารสนเทศและมัลติมีเดีย
แม้ว่าร้อยละ 80 ของคนฝรั่งเศสมองว่า คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์สำหรับใช้ในการประกอบอาชีพมากกว่าจะใช้เพื่อการอื่น แต่ร้อยละ 50 ของครัวเรือนกลับมีคอมพิวเตอร์ไว้ใช้ที่บ้าน
อินเทอร์เน็ตซึ่งถือเป็นรูปแบบใหม่ของการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้รับความนิยมอย่างรวดเร็ว ในปัจจุบันมีชาวฝรั่งเศสประมาณ 4 ล้านคนที่ใช้อินเทอร์เน็ตทั้งที่โรงเรียน ที่ทำงานและที่บ้าน
ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา การใช้อินเทอร์เน็ตในฝรั่งเศสได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งองค์กร หนังสือพิมพ์รายวัน หน่วยงานของรัฐ บริษัท ต่างมีเว็บไซต์ของตนเองนำเสนอข้อมูลข่าวสารในหลายๆแง่มุม (กีฬา การศึกษา การบริการรูปแบบต่างๆ ภาพยนตร์…)
เว็บไซต์ประเภทที่ได้รับความนิยมมากที่สุดได้แก่ เว็บไซต์ซึ่งเป็นศูนย์รวมของเว็บไซต์ที่ให้ข้อมูลด้านต่างๆ เว็บไซต์ของบริษัทผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (เช่น เว็บไซต์ของ Wanadoo ของ France Telecom) และเว็บไซต์ที่เสนอการบริการในรูปแบบต่างๆ
ภาพยนตร์
ฝรั่งเศสซึ่งเป็นประเทศผู้คิดค้นภาพยนตร์ขึ้นในโลกเมื่อปี 1895 ยังคงมีผลงานทางด้านนี้ออกมาอย่างต่อเนื่อง ในปี 2004 มีการผลิตภาพยนตร์จำนวนทั้งสิ้น 219 เรื่อง (อันดับ 2 ของโลกในแง่ของการลงทุนทางด้านภาพยนตร์)
ร้อยละ 53 ของชาวฝรั่งเศสดูภาพยนตร์อย่างน้อย 1 เรื่องต่อปี ร้อยละ 32 ดูภาพยนตร์อย่างน้อย 1 เรื่องต่อเดือน ฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศที่มีโรงภาพยนตร์มากที่สุดในโลก รวมทั้งสิ้นมีจำนวน 5,300 โรงทั่วประเทศ 127 แห่งเป็นโรงภาพยนตร์มัลติเพล็กซ์
ทราบข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
www.cnc.fr
ดนตรีและการเต้นรำ
ฝรั่งเศสมีนักแสดงละครและนักเต้นรำประมาณ 11,300 คนและศิลปินที่เป็นนักดนตรี นักร้องเพลงคลาสสิกอีก 16,200 คน ในแต่ละปีจะมีเทศกาลดนตรี โอเปร่าและการเต้นรำประมาณ 250 งาน นอกจากนี้ยังมีนักร้องเพลงสมัยใหม่อีก 8,700 คน
ในส่วนของศิลปินสมัครเล่นมีแต่จะเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ได้มีการสอนทั้ง 2 สาขามากขึ้น (หากนับเฉพาะสาขาดนตรี สถาบันที่สอนมี 4,300 แห่ง)
การละคร
จำนวนผู้เข้าชมละครในแต่ละปีมีประมาณ 8 ล้านคนจากการแสดง 50,000 รอบ (ทั้งในโรงละครระดับประเทศ ศูนย์ศิลปะการละครระดับชาติ และโรงละครของเอกชน) ในฝรั่งเศสคณะละครอิสระซึ่งมีกว่าพันคณะจะเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของผู้นิยมชมชอบศิลปะแขนงนี้นอกเหนือไปจากการแสดงตามโรงละครใหญ่ๆในกรุงปารีสและปริมณฑล รวมทั้งในเมืองใหญ่ต่างๆ และตามงานเทศกาลที่มีชื่อเสียง เช่น งานเทศกาลที่เมือง Avignon
พิพิธภัณฑ์และสถานที่ทางประวัติศาสตร์
ฝรั่งเศสมีพิพิธภัณฑ์ประมาณ 1,200 แห่งซึ่งสามารถดึงดูดผู้ชมได้หลายสิบล้านคนในแต่ละปี เฉพาะพิพิธภัณฑ์ลูฟร์ (Louvre) พระราชวังแวร์ซายส์ (Versailles) และพิพิธภัณฑ์ออร์เซ่ (Musée d’Orsay) มีผู้เข้าชมมากกว่า 70 ล้านคนต่อปี
ตามเมืองต่างๆส่วนมากมักจะมีพิพิธภัณฑ์อย่างน้อยหนึ่งแห่งตั้งอยู่ ในส่วนของสถานที่ทางประวัติศาสตร์มีมากกว่า 2,400 แห่งที่เปิดให้สาธารณชนเข้าชม (8 ล้านคนต่อปี) ซึ่งรวมทั้งหอไอเฟล (Eiffel) ที่นับเป็นสถานที่ๆมีผู้เข้าชมมากที่สุด (6 ล้านคนต่อปี) นอกจากนี้ ยังมีอาคารอีก 41,800 แห่งที่ได้รับการอนุรักษ์ให้ป็นสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์และอยู่ภายใต้การดูแลของกระทรวงวัฒนธรรม
ทราบข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
www.culture.gouv.fr
กีฬา
การเล่นกีฬามีการพัฒนาขึ้นอย่างมากในช่วงหลายปีที่ผ่านมา จำนวนสมาชิกสังกัดสมาคมกีฬาต่างๆ มีเกือบ 10 ล้านคน เทนนิสและฟุตบอลเป็นสมาคมที่มีสมาชิกมากที่สุด ส่วนยูโด เปตอง ขี่ม้า แบดมินตันและกอล์ฟเป็นกีฬาที่ได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นในช่วงหลายปีที่ผ่านมา นอกจากนี้กีฬาประเภทการค้นหาและการผจญภัย เช่น จักรยานวิบาก การเดินป่า การปีนเขา การเล่นเครื่องร่อน การพายเรือแคนูและคายัก ก็มีผู้นิยมเพิ่มมากขึ้นเช่นกัน
ทราบข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
www.jeunesse-sports.gouv.fr
งานนิทรรศการและงานเทศกาลต่างๆ
ชาวฝรั่งเศสชอบเข้าร่วมและมีส่วนร่วมในงานเทศกาลทั้งทางวัฒนธรรมและบันเทิงที่มีการจัดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นนิทรรศการอินเทอร์เน็ต งานวันมรดกแห่งชาติ เทศกาลดนตรี งานเทศกาลส่งเสริมการอ่าน สัปดาห์วิทยาศาสตร์ ในแต่ละปี การจัดงานเหล่านี้จะได้รับการตอบรับอย่างดียิ่ง
8งานวันมรดกแห่งชาติจะเปิดให้เข้าชมสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ที่โดยปกติสาธารณชนไม่สามารถเข้าชมได้ (กระทรวงต่างๆ สถานทูต บริษัท ธนาคาร) 8ส่วนงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์มีจุดประสงค์เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบถึงวิวัฒนาการของวิทยาศาสตร์และบทบาทของวิทยาศาสตร์ที่มีต่อสังคม 8ในส่วนของงานนิทรรศการหนังสือและการส่งเสริมการอ่าน จะเป็นในรูปของการจัดให้มีการพบปะนักเขียน จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับวิธีการประพันธ์ การประกวดแต่งเรื่องสั้นและทำความรู้จักกับอาชีพที่เกี่ยวข้องกับหนังสือ 8งานนิทรรศการอินเทอร์เน็ตเน้นให้สาธารณชนทราบถึงข้อได้เปรียบและเสียเปรียบของสังคมข้อมูลข่าวสาร

วันพุธ, ตุลาคม 31, 2550

...มาหัดนับตัวเลขกันดีกว่า...

1-un 2-deux 3-trois
4-quatre 5-cinq 6-six
7-sept 8-huit 9-neuf
10-dix 11-onze 12-douze
13-treize 14-quatorze 15-quize
16-seize 17-dix-sept 18-dix-huif
19-dix-neuf 20-vingt 21-vingt et un
22-vingt-deux 23-vingt-trois 24-vingt-quatre
25-vingt-cinq 26-vingt-six 27-vingt-sept
28-vingt-huit 29-vingt-neuf 30-trente
31-trente et un 32-trente-deux 33-trente-trois
34-trente-quatre 35-trente-cinq 36-trente-six
37-trente-sept 38-trente-huit 39-trente-neuf
40-qarqnte 41-qarqnte et un 42-qarqnte-deux
43-qarqnte-trois 44-qarqnte-quatre 45-qarqnte-cinq
46-qarqnte-six 47-qarqnte-sept

วันจันทร์, กันยายน 24, 2550

Leçon 48

คำศัพท์ : [Lexique]
- coiffeur (n.m.), coiffeuse (n.f.) = ช่างทำผม / coiffure (n.f.) = ทรงผม / coiffe (n.f) = สิ่งประดับผม / coiffer (v.) = ทำผม, ตัดผม / se faire coiffer = ให้ช่างทำผมให้ - pub [publicité] (n.f.) = โฆษณา / faire de la pub = ทำการโฆษณา - roi (n.m.) = กษัตริย์ / reine (n.f.) = ราชินี- méchant (adj.) = ใจร้าย, ดุ- vieillir (v.) = แก่, แก่ลง- paraître (v.) = ดูเหมือนว่า- exister (v.) = มี, มีอยู่- teinture (n.f.) = สีย้อมผ้า, สีย้อมผม ... / teindre (v.) ย้อม - minou (n.m.) = คำเรียก แมว- bouger (v.) = ขยับเขยื้อน, เคลื่อนไหว

วันพฤหัสบดี, กันยายน 13, 2550

วู้ววววววววววววว!!!!!!!!!!!!!!!!!!!


Quand l'enfant viendra

Moi je ferai le tour de mon quartierPour annoncer son arrivéeMon enfant est néMon enfant est là
Et je brûlerai la nuit une dernière foisEt les amis des jours d'éclatBoiront à tomberQuand l'enfant viendra
Mais j'irai dire aux hommes du monde entierLaissez grandir en libertéLaissez le courir à nos genouxLaissez le partir au bout de nous
Que jamais la guerre ne touche à luiLa drogue et le fer la peur aussiQuand l'enfant viendra poser sa vieDans ce lit de bois que j'ai fait pour lui
Et devant ce bonhomme de rien du toutSerrant ses poings contre ses jouesJe dirai merci à ma femme aussi
Mais tous les chants d'amour toutes les chansonsChanteront toujours à l'unissonLaissez le grandir en libertéLaissez le choisir sa véritéLaissez le grandir en libertéLaissez le choisir sa vérité
Que jamais la guerre ne touche à luiLa drogue et le fer la peur aussiQuand l'enfant viendra poser sa vieDans ce monde là qui n'est pas fini
Tous les chants d'amour toutes les chansonsChanteront toujours à l'unisson Laissez le grandir en libertéLaissez le choisir sa vérité
Tous les chants d'amour toutes les chansonsChanteront toujours à l'unisson ...


วันพฤหัสบดี, สิงหาคม 16, 2550

Les temps de l' indicatif

Le passé récent


การใช้ : Le passé récent ใช้บอกเล่าหรือบรรยายเหตุการณ์ที่เพิ่งจบลงไป
- Le train vient d' entrer en gare. Les passagers en descendent. (รถไฟเพิ่งเข้าสู่สถานี ผู้โดยสารกำลังลงจากรถไฟ)
- Vous voulez un café ? (คุณต้องการกาแฟสักถ้วยไหม)
+ Non, merci. je viens d' en prendre. (ไม่หรอกครับ ขอบคุณ ผมเพิ่งจะดื่มมา)


รูปแบบ : Le passé récent สร้างโดยใช้ verbe "venir de" ในรูป présent + infinitif :
Je viens de déjeuner.
Tu viens de rentrer ?
Il / Elle vient de sortir.
Nous venons de commencer.
Vous venez d' écouter France-Inter.
Ils / Elles viennent d' entrer en classe.


Le passé composé


การใช้ :
1. บอกเล่าหรือบรรยายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตและจบลงไปเรียบร้อยแล้ว
- Je suis née le 20 mars 1987. (ดิฉันเกิดวันที่ 20 มีนาคม 2530)
- L' année dernière, j' ai acheté une nouvelle voiture. (เมื่อปีที่แล้วฉันซื้อรถใหม่คันหนึ่ง)
- Est-ce que tu lui as téléphoné ? (เธอโทรศัพท์ถึงเขาแล้วหรือยัง)
2. บอกเล่าหรือบรรยายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตแต่มีผลมาถึงปัจจุบัน
- Elle n'a plus d'argent; elle a tout dépensé. (หล่อนไม่มีเงินเหลืออีก หล่อนใช้มันไปหมดแล้ว)
- Elle est tombée. Elle a mal aux genoux. (หล่อนหกล้ม หล่อนเจ็บหัวเข่า)
3. ใช้ตามหลัง "si" ในประโยคที่บอก เงื่อนไข หรือ สมมุติฐาน
- Si tu as fini tes devoirs, tu pourras regarder la télévision. (ถ้าเธอทำการบ้านเสร็จแล้ว เธอก็ดูโทรทัศน์ได้)
- Si vous ne vous êtes pas encore inscrit(e), dépêchez-vous de le faire. (หากคุณยังไม่ไดสมัคร ก็ต้องรีบเร็วเข้า)
รูปแบบ : เราใช้กริยาช่วย (auxiliaire) "avoir" หรือ "être" ในรูป présent + participe passé
"avoir" ใช้กับ verbe ส่วนใหญ่ :
J' ai bien mangé. [inf. = manger]
Tu as fini ton travail ? [inf. = finir]
Il a eu un accident. [inf. = avoir]
Elle a été malade. [inf. = être]
Nous avons dîné dans un bon restaurant. [inf. =dîner]
Vous avez appris l' anglais ? [inf. = apprendre]
Ils ont fait beaucoup de photos. [inf. = faire]
Elles ont mis leur plus belle robe. [inf. = mettre]
ในประโยคปฎิเสธ " ne ............. pas " ครอบกริยาช่วย "avoir"
- Je n' ai pas trouvé sa maison.
- Tu n' as pas fini ?
participe passé ของกริยาแท้ไม่ทำ accord (ไม่เปลี่ยนรูป) ให้สัมพันธ์กับเพศและพจน์ของประธานเมื่อใช้กับ verbe "avoir"
"être" :
1. ใช้กับ verbes ต่อไปนี้ :
aller[allé] - venir[venu] - revenir[revenu] - arriver[arrivé] - partir[parti] - passer[passé]
entrer[entré] - rentrer[rentré] - sortir[sorti] - tomber[tombé] - rester[resté] - retourner[retourné]
monter[monté] - descendre[descendu] - naître[né] - mourir[mort]
- Je suis allé(e) au cinéma hier soir.
- Tu es allé(e) au cinéma hier soir ?
- Il est allé au cinéma hier soir.
- Elle est allée au cinéma hier soir.
- Nous sommes allés(es) au cinéma hier soir.
- Vous êtes allé(e)(es)(s) au cinéma hier soir ?
- Ils sont allés au cinéma hier soir.
- Elles sont allées au cinéma hier soir.
participe passé ของกริยาแท้ต้องทำ accord (เปลี่ยนรูป) ให้สัมพันธ์กับเพศและพจน์ของประธาน
(เติม e สำหรับเพศหญิง - เติม s สำหรับพหูพจน์เพศชาย - เติม es สำหรับพหูพจน์เพศหญิง) เมื่อใช้กับ verbe "être"
สำหรับ verbe : monter, descendre, entrer(rentrer), sortir, passer, retourner : เมื่อตามด้วยกรรมตรง
(complément d' objet direct) ต้องใช้ verbe "avoir" ช่วยในการทำเป็น passé composé
- Elle est passée chez moi hier. (หล่อนแวะมาบ้านฉันเมื่อวาน)
- Elle a passé de bonnes vacances au bord de la mer. (หล่อนใช้เวลาช่วงวันหยุดอย่างมีความสุขที่ชายทะเล)
ในประโยคปฎิเสธ " ne ............. pas " ครอบกริยาช่วย "être"
- Je ne suis pas sorti hier.
- Il n' est pas venu en classe hier.
2. Verbe pronominal ทุกตัว ใช้กับ verbe "être" เมื่อเป็น passé composé
Je me suis lavé.
Tu t' es amusé ?
Il s' est réveillé ?
Elle s' est promenée.
Nous nous sommes disputés.
Vous vous êtes fâchés avec vos copains ?
Ils se sont intéressés à la peinture.
Elles se sont rencontrées dans une fête.
ในประโยคปฎิเสธ " ne ............. pas " ครอบทั้ง สรรพนาม และ กริยาช่วย "être"
- Je ne me suis pas amusé à la fête d' hier soir.
- Elle ne s' est pas fâchée contre toi !
participe passé ของกริยารูป pronominal ต้องทำ accord (เปลี่ยนรูป) ให้สัมพันธ์กับเพศและพจน์ของประธาน
(เติม e สำหรับเพศหญิง - เติม s สำหรับพหูพจน์เพศชาย - เติม es สำหรับพหูพจน์เพศหญิง) เมื่อใช้กับ verbe "être"
ยกเว้นเมื่อมีกรรมตรงตามมา หรือโครงสร้างของกริยา pronominal เป็น กรรมรอง
- Sabine s' est lavée. (ทำ accord) [ซาบิ้นอาบนํ้า]
- Sabine s' est lavé les cheveux. (ไม่ทำ accord เพราะมีกรรมตรง "les cheveux" ตามมา) [ซาบิ้นสระผม]
- Sabine et sa copine se sont téléphoné pendant 2 heures ! [ซาบิ้นกับเพื่อนโทรศัพท์ถึงกันเป็นเวลาตั้ง
2 ชั่วโมง]
(ไม่ทำ accord เพราะโครงสร้างของกริยา pronominal เป็น กรรมรอง : Sabine téléphone à sa copine และ
Sa copine téléphone à Sabine)

วันอังคาร, กรกฎาคม 24, 2550

เพลงภาษาฝรั่งเศส La chanson francaise



Je ne vous oublie pas - Celine DION


แง่มๆ วันนี้อารมณ์ดี เลยอัพเพลงให้พิเศษ เพลงJe ne vous oublie pas หรือ "ฉันไม่เคยลืมคุณ" เป็นเพลงของCeline Dion ตอนสมัยที่ยังไม่โกอินเตอร์ค่ะ หลายคนคงสงสัยว่าเขาเป็นคนฝรั่งเศสด้วยหรอ ก็ขอบอกว่าเขาเป็นลูกครึ่งฝรั่งเศสค่ะ มีผลงานก่อนที่จะร้องเพลง My heart will go on ประกอบเรื่องTitanic มากมายหลายเพลง ถ้าว่างก็จะเอามาลงให้ฟังอีกค่ะ

ส่วนเนื้อหาของเพลงนี้ ก็เป็นเรื่องราวของความรักอีกเช่นเคย แต่ว่าเป็นตวามรักครั้งแรกค่ะ ความรักที่ไม่เคยลืม แม้ว่าจะนอนหลับก็ยังฝันถึงอยู่เสมอ ฟังแล้วโรแมนติกดีเนอะ ลองไปฟังกันเลยดีกว่า คำแปลอยู่ข้างล่างเรียบร้อย อ่านไปด้วยได้เลยค่า



Je ne vous oublie pas


Céline DION


Dans mes absences, parfois, sans douteJ'aurais pu m'éloignerComme si j'avais perdu ma routeComme si j'avais changé
Alors j'ai quelques mots tendresseJuste pour le dire
Je ne vous oublie pas, non, jamaisVous êtes au creux de moiDans ma vie, dans tout ce que je fais
Mes premiers amoursMes premiers rêves sont venus avec vousC'est notre histoire à nous
Je ne vous oublie pas, non, jamaisVous savez tant de moiDe ma vie, de tout ce que j'en fais
Alors mes bonheurs, mes déchirures se partagent avec vousC'est notre histoire à nousJe ne vous oublie pas
Parce que le temps peut mettre en cageNos rêves et nos enviesJe fais mes choix et mes voyagesParfois j'en paye le prixLa vie me sourie ou me blesseQuelle que soit ma vie
Je ne vous oublie pas, non, jamaisVous êtes au creux de moiDans ma vie dans tout ce que je fais
Mes premiers amoursMes premiers rêves sont venus avec vousC'est notre histoire à nous
Je ne vous oublie pas
Même à l'autre bout de la terreJe continue mon histoire avec vous
{choeurs:}Je ne vous oublie pas
Non, JamaisVous êtes au creux de moiDans ma vie de tout ce que je faisMes premiers amoursMes premiers rêves sont venus avec vousC'est notre histoire à nous
Je ne vous oublie pasNon jamais
Vous savez tant de moiDe ma vie de tout ce que j'en fais
Alors mes bonheurs, mes déchirures se partagent avec vousC'est notre histoire à nousJe ne vous oublie pasJe ne vous oublie pas


คำแปล

ฉันไม่เคยลืมคุณ

นบางเวลาที่ฉันห่างหายไป บางครั้งมันก็ไม่น่าสงสัยอะไรฉันอาจจะหนีไปให้ไกลแสนไกล เหมือนที่ฉันเคยหลงทางเหมือนที่ฉันเคยเปลี่ยนไปดังนั้น ฉันจึงอยากบอกคำหวานๆบางคำ ให้คุณได้เข้าใจ
ฉันไม่เคยลืมคุณ ไม่ ไม่เคยเลยคุณอยู่ในส่วนลึกในใจฉัน อยู่ในชีวิตของฉัน อยู่ในทุกสิ่งทุกอย่างที่ฉันทำทั้งความรักครั้งแรกของฉันความฝันครั้งแรกที่มาพร้อมกับคุณมันคือเรื่องราวระหว่างเรา
ฉันไม่เคยลืมคุณ ไม่ ไม่เคยเลยคุณรู้จักฉันมากมายยิ่งนักรุ้จักชีวิตของฉัน รู้จักทุกสิ่งทุกอย่างที่ฉันทำดังนั้น ทั้งความสุขและอุปสรรคทั้งหลายของฉัน นั้นได้แบ่งปันร่วมกับคุณมันเป็นเรื่องราวระหว่างเราฉันไม่เคยลืมคุณเลย
อาจเป็นเพราะกาลเวลาสามารถเก็บขังไว้ได้ทั้งความฝันและความปรารถนามากมายของเราฉันต้องเลือกและออกเดินทางค้นหาแต่บางครั้ง ฉันก็ต้องให้รางวัลกับตัวเองบ้างชีวิตที่ทำให้ฉันยิ้มได้หรือชีวิตที่ทำให้ฉันเจ็บปวดแบบไหนจะเป็นชีวิตของฉันกันแน่นะ
ฉันไม่เคยลืมคุณ ไม่ ไม่เคยเลยคุณอยู่ในส่วนลึกในใจฉัน อยู่ในชีวิตของฉัน อยู่ในทุกสิ่งทุกอย่างที่ฉันทำทั้งความรักครั้งแรกของฉันความฝันครั้งแรกที่มาพร้อมกับคุณมันคือเรื่องราวระหว่างเราฉันไม่เคยลืมคุณเลย
เช่นเดียวกัน ณ ที่ปลายสุดพื้นปฐพีฉันสานต่อเรื่องราวของฉันกับคุณ
ฉันไม่เคยลืมคุณ ไม่ ไม่เคยเลยคุณอยู่ในส่วนลึกในใจฉัน อยู่ในชีวิตของฉัน อยู่ในทุกสิ่งทุกอย่างที่ฉันทำทั้งความรักครั้งแรกของฉันความฝันครั้งแรกที่มาพร้อมกับคุณมันคือเรื่องราวระหว่างเรา
ฉันไม่เคยลืมคุณ ไม่ ไม่เคยเลยคุณรู้จักฉันมากมายยิ่งนักรุ้จักชีวิตของฉัน รู้จักทุกสิ่งทุกอย่างที่ฉันทำดังนั้น ทั้งความสุขและอุปสรรคทั้งหลายของฉัน นั้นได้แบ่งปันร่วมกับคุณมันเป็นเรื่องราวระหว่างเราฉันไม่เคยลืมคุณเลยฉันไม่เคยลืมคุณเลย


คำศัพท์V. s'éloigner = ออกห่างla tendresse = ความอ่อนโยนle creux = โพรงles déchirures = อุปสรรค, รอยฉีกขาดla cage = กรงV. perdre = หลงทาง




วันอังคาร, กรกฎาคม 10, 2550

Le papillon
Michel SERRAULT &Claire BOUANICH

Pourquoi les poules pondent des oeufs? Pour que les oeufs fassent des poules. Pourquoi les amoureux s'embrassent? C'est pour que les pigeons roucoulent. Pourquoi les jolies fleurs se fanent? Parce que ça fait partie du charme. Pourquoi le diable et le bon Dieu? C'est pour faire parler les curieux. Pourquoi le feu brûle le bois? C'est pour bien réchauffer nos corps. Pourquoi la mer se retire? C'est pour qu'on lui dise "Encore." Pourquoi le soleil disparaît? Pour l'autre partie du décor. Pourquoi le diable et le bon Dieu? C'est pour faire parler les curieux. Pourquoi le loup mange l'agneau? Parce qu'il faut bien se nourrir. Pourquoi le lièvre et la tortue? Parce que rien ne sert de courir. Pourquoi les anges ont-ils des ailes? Pour nous faire croire au Père Noël. Pourquoi le diable et le bon Dieu? C'est pour faire parler les curieux. Ça t'a plu, le petit voyage? Ah oui, beaucoup. On a vu de belles choses, eh? J'aurais bien voulu voir les sauterelles! Sauterelles, pourquoi des sauterelles? Et des libellules aussi. À la prochaine fois, d'accord. D'accord. Je peux te demander quelque chose? Quoi encore? On continue mais cette fois-ci c'est toi qui chantes. Pas question. S'il te plaît. Non, mais non. Allez, c'est le dernier couplet. Tu ne crois pas que tu pousses un peu le bouchon? Pourquoi notre coeur fait tic-tac? Parce que la pluie fait flic flac. Pourquoi le temps passe si vite? Parce que le vent lui rend visite. Pourquoi tu me prends par la main? Parce qu'avec toi je suis bien. Pourquoi le diable et le bon Dieu? C'est pour faire parler les curieux. VocabulaireV. se fanent = แห้งเหี่ยวV. se retire = รุดถอย, ล่นถอยles curieux = คนมุง, คนอยากรู้อยากเห็นles ailes = ปีก le sauterelle = ตั๊กแตนle libellule = แมลงปอ
(14/11/06)
ผีเสื้อ

ทำไมแม่ไก่ถึงออกไข่ครับ
เพื่อว่าไข่จะได้ฟักเป็นแม่ไก่
ทำไมคนรักกันถึงต้องกอดกันด้วยครับ
เพื่อให้นกพิราบออกมาร้องกุ๊กกู
ทำไมดอกไม้สวยๆต้องแห้งเหี่ยวด้วยล่ะครับ
เพราะว่าเสน่ห์ของมันหมดไปแล้วน่ะสิ
ทำไมต้องมีปีศาจกับพระเจ้าด้วยล่ะครับ
ก็เพื่อให้คนอยากจะตั้งคำถามกันต่อไป
ทำไมไฟต้องไหม้ฟืนครับ
ก็เพื่อทำให้ร่างกายเราอบอุ่นไง
ทำไมทะเลถึงมีน้ำขึ้นน้ำลงครับ
ก็เพื่อเราจะได้พูดคำว่า "อีกครั้ง"
ทำไมพระอาทิตย์ถึงตกดินครับ
เพื่อให้อีกด้านของชีวิตมีสีสัน
ทำไมต้องมีปีศาจกับพระเจ้าด้วยล่ะครับ
ก็เพื่อให้คนอยากจะตั้งคำถามกันต่อไป
ทำไมหมาป่าต้องกินแกะครับ
เพราะว่ามันต้องกินเป็นอาหารน่ะสิ
ทำไมต้องเป็นกระต่ายกับเต่าด้วยล่ะครับ
ก็เพราะว่าไม่มีประโยชน์อะไรที่ต้องวิ่งแข่งกันน่ะ
ทำไมเทวดาถึงมีปีกครับ
เราจะได้เชื่อเรื่องซานตาครอสไง
ทำไมต้องมีปีศาจกับพระเจ้าด้วยล่ะครับ
ก็เพื่อให้คนอยากจะตั้งคำถามกันต่อไป
เดินเล่นคราวนี้ หลานสนุกไหม
ครับ สนุกมาก
เราได้เห็นสิ่งที่สวยงามไปแล้วใช่ไหม หือ
ผมอยากจะเห็นตั๊กแตนครับ!
ตั๊กแตน ทำไมต้องเป็นตั๊กแตนล่ะ
แล้วก็แมลงปอด้วยครับ
ไว้คราวหน้าละกันตกลงไหม
ตกลงครับ
ผมอยากจะขออะไรตาสักอย่างได้ไหมครับ
อะไรอีกล่ะ
เราจะร้องเพลงกันต่อ แต่ตาเป็นคนร้องนะครับ
ไม่เด็ดขาด
นะครับ
ไม่ ไม่ ไม่เอา
เอาเถอะครับ มันเป็นท่อนสุดท้ายแล้ว
หลานไม่คิดว่าหลานจะบังคับตาไปหน่อยเหรอ
ทำไมหัวใจเราถึงเต้นดังตึกตัก
ก็เพราะว่าฝนตกดังเปาะแปะ*ครับ
(* ที่ฝรั่งเศสจะบอกว่าเสียงฝนตกดัง ฟลิกฟลัก และเสียงหัวใจเต้น ดังติกตัก แต่เพื่อให้อ่านแล้วเข้าใจง่าย ลินก็เลยใช้เสียง เปาะแปะแทน)ทำไมเวลาถึงผ่านไปเร็วนัก
ก็เพราะว่าสายลมแวะมาเยี่ยมครับ
แล้วทำไมหลานถึงจับมือตาล่ะ
เพราะว่าเวลาอยู่กับตาแล้วผมรู้สึกดี
ทำไมต้องเป็นปีศาจกับพระเจ้าด้วยล่ะครับ
ก็เพื่อให้คนอยากจะตั้งคำถามกันต่อไป

วันอังคาร, กรกฎาคม 03, 2550

Familles de Mots

admettre (v)[อัต - แมต(เตรอ)]= ยอมรับ, รับเข้ามา, ให้เข้ามาได้
* admettre qn, qch :-
Elle a ้t้ admise เ l'examen d'entr้e. หล่อนสอบติดเอนทรานซ์
-
J'admets vos raisons. ผมยอมรับเหตุผลของคุณ
* admettre que (+ ind. ou + subj.) :-
J'admets que tu as( tu aies)HYPERLINK "admettre3.html" raison. ฉันยอมรับว่าเธอ(พูด)ถูก
* ne pas admettre que (+ subj.) :-
Je n'admets pas qu'on soit toujours en retard. ฉันยอมรับไม่ได้ที่มีคนมาสายเป็นประจำ
* Admettons, Admettez, En admettant que (+ subj.) = สมมติว่า :-
Admettons que cela soit vrai, mais le probl่me n'est pas encore r้solu. สมมติว่านั่นเป็นเรื่องจริง แต่ปัญหาก็ยังไม่ได้รับการแก้ไข
admission (n.f) = การยอมรับ :-
L'admission d'un nouveau pays aux Nations Unies doit ๊tre approuv้e par les pays membres. การรับประเทศสมาชิกใหม่ เข้าร่วมในองการสหประชาชาติ ต้องได้รับความเห็นชอบจากประเทศสมาชิกก่อน
admissible (adj) = ที่ยอมรับได้ :-
Tes raisons sont admissibles. เหตุผลของเธอเป็นที่ยอมรับได้
inadmissible (adj) = ที่ยอมรับไม่ได้ :-
C'est une r้ponse inadmissible. นั่นเป็นคำตอบที่ยอมรับไม่ได้
Synonyme : accepter, accueillir, autoriser, recevoir, tolérer, reconnaître, supporter
Contraire : rejeter, refuser, repousser, renvoyer
accepter (อัก-แซป-เต) (v) = ยอมรับ
* accepter qqn, qqch : -
Elle a accept้ Laurent pour ้poux. หล่อนตอบรับโรลองต์เป็นสามี
-
J'accepte votre invitation avec plaisir.ผมตอบรับคําเชิญด้วยความยินดี
* accepter de (+ infinitif) : -
Elle accepte de venir เHYPERLINK "accepter3.html" ma f๊te. หล่อนตอบรับที่จะมางานของฉัน
* s'accepter = ยอมรับตนเอง : -
Il faut s'accepter tel qu'on est.เราต้องยอมรับในสิ่งที่ตนเองเป็นอยู่
* accepter que (+ subjonctif) -
Je n'accepte pas que tu sois toujours en retard ! acceptation (n.f) = การยอมรับ : - Avant de pouvoir commencer, il faut obtenir ฉันยอมรับไม่ได้ที่เธอมาสายเป็นประจำ
l'acceptation de tous les membres.ก่อนที่จะสามารถเริ่มได้เราต้องได้รับการตอบรับจากสมาชิกทุกคนก่อน
acceptable (adj) = ที่ยอมรับได้ : -
Sa proposition est acceptable. เราพอยอมรับข้อเสนอของเขาได้
inacceptable (adj) = ที่ไม่อาจยอมรับได้ : -
Une telle proposition est inacceptable! เราไม่อาจยอมรับข้อเสนอเช่นนี้ได้
synonymes : accueillir, agréer, recevoir, admettre, se soumettre à se résigner à, être d'accord, tolérer, adopter, vouloir bien, consentir à
contraires : refuser, repousser, rejeter, décliner

วันจันทร์, มิถุนายน 25, 2550

Tour Eiffel



Tour Eiffel


หอไอเฟล (อังกฤษ: Eiffel Tower, ฝรั่งเศส: Tour Eiffel) หอคอยโครงสร้างเหล็ก ที่Champ de Mars บริเวณแม่น้ำแซน ในเมืองปารีส ประเทศฝรั่งเศส สถานที่และสัญลักษณ์ที่สำคัญแห่งหนึ่งของฝรั่งเศส ก่อสร้างในปี พ.ศ. 2432 (ค.ศ. 1889) โดย กุสตาฟ ไอเฟล ผู้ออกแบบคนเดียวกับเทพีเสรีภาพ เพื่อเป็นสัญลักษณ์การจัดงานแสดงสินค้าโลกในปี 1889 (พ.ศ. 2413) ฉลองครบรอบ 100 ปีแห่งการปฏิวัติอุตสาหกรรม หอไอเฟลทำขึ้นจากโลหะ 15,000 ชิ้น หนักถึง 7,000 ตัน ยึดต่อด้วยน๊อต 2,500,000 ตัว สีทาทั้งหมด 35 ตัน สูง 1,050 ฟุต สิ้นเงินค่าก่อสร้าง 7,799,401 ฟรังก์ แรกๆที่หอไอฟสร้างเสร็จ หอไอเฟลได้รับการประณามโดยทั่วไปว่าเป็นไอเดียที่ประหลาดและไม่เข้าท่า หอคอยไอเฟลได้ชื่อว่าเป็นสิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในช่วงเวลา พ.ศ. 2432 - 2473 ในปัจจุบัน หอคอยไอเฟลมีนักท่องเที่ยวเยี่ยมชมประมาณ 5.5 ล้านคนต่อปี นับเป็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคใหม่
การอ่านออกเสียงใน
ภาษาฝรั่งเศสคือ /ɛ'fɛl/ อ่านเหมือนคำว่า "a-fell" และสำหรับคำในภาษาอังกฤษคือ /'aɪfəl/ อ่านเหมือนคำว่า "eye-full"

_________________________________________

โครงสร้าง


หอไอเฟลมีความสูง 300 เมตร (986 ฟุต) ซึ่งไม่รวม เสาอากาศ 24 เมตร (72 ฟุต) ด้านบนนั้น ถ้าเปรียบเทียบกับตึกแล้วจะมีประมาณ 75 ชั้น ในขณะที่ก่อสร้างปี พ.ศ. 2432(ค.ศ. 1889) หอไอเฟลนั้นเป็นสิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดบนโลก โดยถูกล้มตำแหน่งเมื่อเมือง
นิวยอร์กได้สร้าง ตึกไครสเลอร์ สูง 319 เมตร(1046 พุต)
น้ำหนักเหล็กที่ใช้ก่อสร้างนั้นทั้งหมด 7,300 ตัน และถ้ารวมทั้งหมดก็เป็น 10,000 ตัน ส่วนจำนวนบันไดนั้นเปลี่ยนแปลงตลอด เมื่อแรกเริ่มนั้นมี 1710 ขั้น ในทศวรรษที่ 1980 มี 1920 ขั้น และในปัจจุบัน มี 1665 ขั้น

La tour Eiffel est une
tour de fer puddlé construite par Gustave Eiffel et ses collaborateurs pour l'Exposition universelle de 1889. Situé à l'extrémité du Champ-de-Mars, en bordure de la Seine, ce monument parisien, symbole de la France et de sa capitale est le troisième site le plus visité du pays.
D'une hauteur de 300 mètres à l'origine, surélevée par la suite de nombreuses antennes culminant à 325 mètres, la tour Eiffel est restée l'édifice le plus élevé du monde pendant quarante ans. Utilisée dans le passé pour de nombreuses expériences scientifiques, elle sert aujourd'hui d'
émetteur de programmes radiophoniques et télévisés.

วันพุธ, มิถุนายน 13, 2550

Icesdii3z ฮะ ฮะ ฮิ้วววววว!!!!!!!!





Les variétés régionales du français

La variation régionale, en français, peut être abordée de deux manières :
en considérant que le français est un synonyme de la
langue d'oïl, ce qui implique que tous les dialectes romans du domaine d'oïl sont des variétés dialectales du français (voir l'article langue d'oïl) ;
en se limitant à ce qu'on appelle le « français régional », ensemble de variétés régionales dans le monde, qui restent très proches du français standard. C'est ce sens qui est développé ici.
Certains néologismes peuvent également être empruntés au
vocabulaire du français régional. On appelle « français régional » les mots ou les expressions employés dans certaines régions de la francophonie, mais non retenus dans les dictionnaires académiques du français ou qui ne sont pas utilisés dans l'ensemble de la francophonie. Il ne s'agit pas de langue familière, mais bien du français qui a évolué de façon différente.
En
France par exemple, le repas du matin s'appelle « petit-déjeuner », celui du midi le « déjeuner » et celui du soir le « dîner » ; au Québec, en Belgique et en Suisse, on dit « déjeuner », « dîner » et « souper ». En Belgique et en Suisse, on dit « septante » (70) et « nonante » (90) tandis qu'en Suisse on dit « huitante » (80) mais seulement dans certains cantons (la forme ancienne et aujourd'hui désuète de « huitante » était « octante »). Au Québec, en Suisse, en Belgique et dans certaines régions françaises, on dit « tantôt » là où le français de Paris mais aussi le français africain utilise « tout à l'heure » ; au Québec également, « magasiner » pour « faire des courses » (pour éviter l'anglicisme « faire du shopping »). Au Sénégal et en Afrique francophone, on parle parfois d'« essencerie » pour éviter le néologisme anglais de « station service », etc.
Ce ne sont que quelques exemples et le français est riche de différences lexicales dans ses variantes régionales.